บทที่ 2 จิตวิทยาการรับรู้การเรียนรู้และจิตวิทยาพัฒนาการ
.............ความหมายวิธีระบบหมายถึง วิธีระบบเป็นวิธีการรวมหน่วยย่อยๆ ซึ่งเป็นอิสระจากกันให้มีความสัมพันธ์กันโดยการจัดระเบียบอย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้องค์ประกอบของระบบ
1. ข้อมูลป้อนเข้า (input) ได้แก่วัตถุดิบ ข้อมูลดิบ
2. กระบวนการ (process) ได้แก่ วิธีการปฏิบัติงานอย่างเป็นขั้นตอนซึ่งเป็นวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีก็ได้
3. ผลลัพธ์ (output) ได้แก่ ผลงานที่ได้มาจากข้อมูลป้อนเข้าและกระบวนการซึ่งจะนำไปประเมินผล
4. ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) ได้แก่ ผลการประเมินการทำงานของระบบ ซึ่งสามารถประเมินย้อนกลับได้ทุกขั้นตอนขั้นตอนการจัดระบบขั้นตอนการจัดการ
1. ขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบ
1.1 เคราะห์แนวทางการปฏิบัติ (mission analysis) คือการพิจารณาทิศทางที่จะดำเนินการจุดมุ่งหมายของระบบ เพื่อบรรลุตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้
1.2 วิเคราะห์หน้าที่ (functional analysis) เป็นการกำหนดหน้าที่โดยละเอียดตามที่กำหนดไว้ในแนวทางการปฏิบัติงาน
1.3 วิเคราะห์งาน (task analysis) กำหนดไว้ในขั้นวิเคราะห์หน้าที่ และงาน
1.4 วิเคราะห์วิธีการและสื่อ (methods-means analysis) เป็นการกำหนดหลักการปฏิบัติ กลวิธีและสื่อที่จะนำไปสู่จุดมุ่งหมาย
2 ขั้นการสังเคราะห์ระบบวิธีการสังเคราะห์ระบบ (system synthesis) ช่วยให้มีสมดุลของขั้นตอนต่างๆ ในการแก้ปัญหามีขั้นย่อยดังนี้
2.1 การเลือกวิธีการหรือกลวิธี
2.2 การแก้ปัญหา
2.3 การประเมินผลประสิทธิภาพการดำเนินงาน
3.ขั้นการสร้างแบบจำลองวิธีการเขียนแบบจำลอง อาจเขียนได้หลายแบบ
3.1 แบบจำลองแนวนอน
3.2 แบบจำลองแนวตั้ง
3.3 แบบจำลองแนวนอนผสมแนวตั้ง
3.4 แบบจำลองแบบวงกลมหรือวงรี
3.5 แบบจำลองกึ่งแผนภาพกึ่งรูปภาพ
3.6 แบบจำลองเชิงคณิตศาสตร์หรือคอมพิวเตอร์
4. ขั้นการจำลองสถานการณ์เพื่อปรับปรุงหรือแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ระบบก่อนนำไปใช้จริงวิธีระบบในการเรียนการสอน
1. ระบบการเรียนการสอนของเกอร์ลาชและอีชี
1.1 การกำหนดจุดมุ่งหมาย
1.2 การกำหนดเนื้อหา
1.3 การประเมินพฤติกรรมเบื้องต้น
1.4 การกำหนดกลยุทธวิธีการสอน
1.5 การจัดแบ่งกลุ่มผู้เรียน
1.6 การกำหนดเวลาเรียน
1.7 การจัดสถานที่เรียน
1.8 การเลือกสรรทรัพยากร
1.9 การประเมิน
1.1 0การวิเคราะห์ผลย้อนกลับ
2. ระบบการผลิตชุดการสอนแผนจุฬา
3. ระบบการสอนตามแนวพุทธวิธีวิธีระบบกับสื่อการเรียนการสอน
1. การผลิตสื่อ
2 .การใช้สื่อ
3. การเก็บรักษาสื่อบทสรุปวิธีระบบเป็นผลของการรวมหน่วยย่อยๆ ซึ่งเป็นอิสระจากกันให้มีความสัมพันธ์กัน โดยการจัดระเบียบและสร้างสรรค์เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
1. ข้อมูลป้อนเข้า (input) ได้แก่วัตถุดิบ ข้อมูลดิบ
2. กระบวนการ (process) ได้แก่ วิธีการปฏิบัติงานอย่างเป็นขั้นตอนซึ่งเป็นวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีก็ได้
3. ผลลัพธ์ (output) ได้แก่ ผลงานที่ได้มาจากข้อมูลป้อนเข้าและกระบวนการซึ่งจะนำไปประเมินผล
4. ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) ได้แก่ ผลการประเมินการทำงานของระบบ ซึ่งสามารถประเมินย้อนกลับได้ทุกขั้นตอนขั้นตอนการจัดระบบขั้นตอนการจัดการ
1. ขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบ
1.1 เคราะห์แนวทางการปฏิบัติ (mission analysis) คือการพิจารณาทิศทางที่จะดำเนินการจุดมุ่งหมายของระบบ เพื่อบรรลุตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้
1.2 วิเคราะห์หน้าที่ (functional analysis) เป็นการกำหนดหน้าที่โดยละเอียดตามที่กำหนดไว้ในแนวทางการปฏิบัติงาน
1.3 วิเคราะห์งาน (task analysis) กำหนดไว้ในขั้นวิเคราะห์หน้าที่ และงาน
1.4 วิเคราะห์วิธีการและสื่อ (methods-means analysis) เป็นการกำหนดหลักการปฏิบัติ กลวิธีและสื่อที่จะนำไปสู่จุดมุ่งหมาย
2 ขั้นการสังเคราะห์ระบบวิธีการสังเคราะห์ระบบ (system synthesis) ช่วยให้มีสมดุลของขั้นตอนต่างๆ ในการแก้ปัญหามีขั้นย่อยดังนี้
2.1 การเลือกวิธีการหรือกลวิธี
2.2 การแก้ปัญหา
2.3 การประเมินผลประสิทธิภาพการดำเนินงาน
3.ขั้นการสร้างแบบจำลองวิธีการเขียนแบบจำลอง อาจเขียนได้หลายแบบ
3.1 แบบจำลองแนวนอน
3.2 แบบจำลองแนวตั้ง
3.3 แบบจำลองแนวนอนผสมแนวตั้ง
3.4 แบบจำลองแบบวงกลมหรือวงรี
3.5 แบบจำลองกึ่งแผนภาพกึ่งรูปภาพ
3.6 แบบจำลองเชิงคณิตศาสตร์หรือคอมพิวเตอร์
4. ขั้นการจำลองสถานการณ์เพื่อปรับปรุงหรือแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ระบบก่อนนำไปใช้จริงวิธีระบบในการเรียนการสอน
1. ระบบการเรียนการสอนของเกอร์ลาชและอีชี
1.1 การกำหนดจุดมุ่งหมาย
1.2 การกำหนดเนื้อหา
1.3 การประเมินพฤติกรรมเบื้องต้น
1.4 การกำหนดกลยุทธวิธีการสอน
1.5 การจัดแบ่งกลุ่มผู้เรียน
1.6 การกำหนดเวลาเรียน
1.7 การจัดสถานที่เรียน
1.8 การเลือกสรรทรัพยากร
1.9 การประเมิน
1.1 0การวิเคราะห์ผลย้อนกลับ
2. ระบบการผลิตชุดการสอนแผนจุฬา
3. ระบบการสอนตามแนวพุทธวิธีวิธีระบบกับสื่อการเรียนการสอน
1. การผลิตสื่อ
2 .การใช้สื่อ
3. การเก็บรักษาสื่อบทสรุปวิธีระบบเป็นผลของการรวมหน่วยย่อยๆ ซึ่งเป็นอิสระจากกันให้มีความสัมพันธ์กัน โดยการจัดระเบียบและสร้างสรรค์เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้